skip to Main Content
ประเภทของการคำนวณปริมาตรพื้นที่ด้วย Dronebox

ประเภทของการคำนวณปริมาตรพื้นที่ด้วย Dronebox

ก่อนหน้านี้เรามีการสอน การใช้งานเครื่องมือคำนวณหาปริมาตรใน Dronebox กันไปแล้วนะครับ วันนี้เรามาดูกันว่าใน Dronebox เนี่ย มีรูปแบบการวัดปริมาตรแบบใด ที่จะเหมาะสมกับพื้นที่สำรวจของเรากันครับ ก่อนอื่นเราจะต้องใช้ข้อมูล DSM หรือ Digital Surface Model มาเพื่อคำนวณค่าปริมาตรออกมานะครับ แต่ไม่ต้องเป็นห่วงเรื่องข้อมูล DSM เลยครับ เพราะ Dronebox จะให้ผลลัพธ์นี้มาพร้อมการประมวลผลภาพเลย อย่างนึงที่เราจะมาทำความรู้จักกับการคำนวณหาปริมาตร นั่นก็คือ 3 คำนี้ครับ Base Height คือ ความสูงที่เราต้องการวัดเพื่อหาปริมาตรCut volume คือ ปริมาตรที่อยู่เหลือความสูงที่เราทำการกำหนด Base Height จะเรียกว่า Cut volumeFill Volume คือ…

Read More
การวัดปริมาตร (Volume) อย่างไรใน Dronebox

การวัดปริมาตร (Volume) อย่างไรใน Dronebox

กลับมาพบกันอีกครั้งครับ ก่อนหน้านี้เราได้เรียนรู้ วิธีการวาดและวัด (Digitizing) จากหนึ่งในเครื่องมือของ dronebox กันไปแล้วนะครับ หลังจากการประมวลผลภาพเสร็จแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลภาพแบบ 2D หรือ ภาพถ่ายออร์โธ (Orthophoto) ผู้ใช้งานสามารถวัดปริมาตร จากเครื่องมือใน Dronebox โดยการวัดปริมาตรจะถูกคำนวณจากหนึ่งในผลลัพธ์ที่ได้หลังจากการประมวลผล หรือก็คือ Surface Model (GeoTIFF) โดยนำมาคำนวณในพื้นที่ที่ผู้ใช้งานต้องการเพื่อหาปริมาตรในพื้นที่บริเวณนั้นนั่นเองครับ แต่บาง Project อาจไม่ปรากฏเมนูการวัดปริมาตร เนื่องจากการเลือกรูปแบบการประมวลผลแบบ Fast Orthophoto การประมวลผลจะตัดขั้นตอนของการสร้างผลลัพธ์แบบ Surface Model (GeoTIFF) ออกไปเพื่อลดระยะเวลาในการประมวลผลให้ไวมากขึ้นครับ จึงไม่มีผลลัพธ์ดังกล่าวมาทำการประมวลผลเพื่อหาปริมาตรในพื้นที่นั้นได้นั่นเอง วิธีการใช้งานเครื่องมือวัดปริมาตร (Volume) สามารถทำตามได้ด้วยวิธีดังนี้ครับ ก่อนอื่นเราต้องทำการเลือก Project และ…

Read More
การเพิ่มชั้นข้อมูล GIS Shapefile และ GeoJSON เพื่อซ้อนทับกับข้อมูลแผนที่ใน Dronebox

การเพิ่มชั้นข้อมูล GIS Shapefile และ GeoJSON เพื่อซ้อนทับกับข้อมูลแผนที่ใน Dronebox

วันนี้ผมจะมาแนะนำการนำเข้าข้อมูล GIS เพื่อนำไปแสดงผลร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลจากภาพโดรนเสร็จแล้วนะครับ (สามารถเข้าดูวิธีการประมวลผลภาพโดรนได้ที่นี่ครับ) ซึ่งข้อมูลที่ได้จาก GIS ที่ Dronebox สามารถรองรับและแสดงผลได้ก็จะอยู่ในรูปแบบของ ESRI Shapefile และ GeoJSON ครับ ซึ่งวันนี้ก็เลยจะสาธิตโดยการส่งออกข้อมูลจากโปรแกรม QGIS ครับ เรามาเริ่มกันเลยครับ 1. เริ่มต้นเลยเราต้องเตรียมข้อมูล Shapefile หรือ GeoJSON ในโปรแกรม QGIS ดังภาพเลยครับ โดยตัวอย่างของผมจะมีชั้นข้อมูล 3 แบบเลย คือ จุด เส้น และพื้นที่ 2. จากนั้นเราจะต้องเลือกชั้นข้อมูลที่ต้องการโดยคลิกขวาที่ชั้นข้อมูลเลือก Export > Save Features As...…

Read More
แสดงข้อมูล 3 มิติใน Dronebox อย่างไร

แสดงข้อมูล 3 มิติใน Dronebox อย่างไร

สวัสดีครับ กลับมาพบกันอีกแล้วกับการใช้งาน Dronebox เบื้องต้นครับ วันนี้ผมขอแนะนำการเรียกดูและแสดงข้อมูลในรูปแบบ 3 มิติใน Dronebox กันครับ ซึ่งหลังจากที่เราทำการประมวลผลข้อมูลภาพถ่ายที่ได้จากโดรนเสร็จแล้ว (สามารถเข้าไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่) เราก็จะสามารถแสดงข้อมูลแผนที่ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ได้ในคราวเดียวกันเลยครับ นั้นก็เพราะว่า Dronebox เราได้ทำการสร้าง 3D Tiles ไว้ให้แล้วจึงสามารถนำเอาข้อมูลมาแสดงในรูปแบบ 3 มิติได้เลยทันทีครับ ซึ่ง Dronebox เราได้ใช้ CesiumJS เป็นหลักในการแสดงข้อมูลแผนที่ 3 มิติเลยครับ เมื่อเราเข้าไปที่โปรเจ็คแล้ว ก็จะเห็นข้อมูลแบบเริ่มต้นจะเป็นแผนที่ 2 มิติครับ 2. ให้เราคลิกที่ปุ่ม 3D…

Read More
วาด,วัด พื้นที่หรือเส้นทาง อย่างไรใน Dronebox

วาด,วัด พื้นที่หรือเส้นทาง อย่างไรใน Dronebox

สวัสดีครับ ทุกๆท่าน วันนี้ผมจะมาแนะนำอีกหนึ่งฟังก์ชันที่น่าสนใจใน Dronebox นั่นก็คือเครื่องมือวาดและวัด (Digitizing) ก่อนอื่นเราต้องทำการเลือก Project และ Task ที่ต้องการวาด หรือวัดพื้นที่ก่อนครับ จากนั้น จะสังเกตุที่มุมขวาบนของแผนที่ จะแสดงเครื่องมือการวาดขึ้นมาครับ โดยจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรก จะเป็นเครื่องมือการวาดประเภทต่างๆ เครื่องมือ จะเป็นเครื่องมือประเภทการวัด หรือการวาดเส้นทาง (Line) เครื่องมือ จะเป็นเครื่องมือประเภทการวัด หรือการวาดพื้นที่รูปปิด (Polygon) เครื่องมือ จะเป็นเครื่องมือประเภทการวัด หรือการวาดพื้นที่รูปปิดแบบสี่เหลี่ยม (Rectangle Polygon) เครื่องมือ จะเป็นเครื่องมือประเภทการวาดจุด (Point) เราไปดูตัวอย่างของแต่ละประเภทกันเลยนะครับว่า วาดออกมาแล้วจะมีลักษณะแบบไหน 1) เครื่องมือวาดเส้นทาง…

Read More
GCP คืออะไร ทำไมต้องเก็บ GCP?

GCP คืออะไร ทำไมต้องเก็บ GCP?

นักบินโดรนมือใหม่ หรือน้องๆนักศึกษาหลายๆท่าน คงสงสัย หรือยังไม่เข้าใจว่า อะไรคือ GCP หรือเราจะเก็บ GCP ไปทำไม แล้วจะเก็บยังไง มีความสำคัญแค่ไหนเดี๋ยววันนี้ผมจะมาแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับ GCP กันครับ ก่อนอื่นเลย เราต้องมารู้ก่อนว่าชื่อเต็มๆของ GCP ย่อมาจากคำว่าอะไรบ้างนะครับ GCP ย่อมาจากคำเต็มๆว่า Ground Control Point หรือเรียกตามศัพท์คำภาษาไทยเรียกว่า จุดควบคุมภาคพื้นดิน พูดโดยการเข้าใจง่ายๆ คือ เป็นจุดที่ปรากฏบนภาพถ่ายจากโดรนโดยมีลักษณะเด่นชัด เมื่อเปิดภาพถ่ายจากโดรนขึ้นมา เราสามารถเห็น และชี้ตำแหน่งบนภาพได้อย่างชัดเจน และต้องอยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง เหมาะสมบนภาพถ่ายด้วยครับ หากเราทราบตำแหน่งของ GCP เราจะสามารถใช้ตำแหน่งสำหรับการตรึงภาพถ่ายหรือการดัดแก้ภาพถ่ายให้มีความถูกต้องแม่นยำมากยิ่งขึ้น โดยสามารถทราบค่าพิกัดด้วยวิธีการรังวัด ลงพื้นที่เพื่อเก็บค่าจาก GCP ที่เราวางแผนเพื่อวางตำแหน่งตามต้องการ ควบคู่กับการวางแผนการบินนั่นเองครับ…

Read More
เริ่มต้นใช้งาน Dronebox สำหรับมือใหม่

เริ่มต้นใช้งาน Dronebox สำหรับมือใหม่

สวัสดีครับ สำหรับผู้ใช้งานใหม่ การเริ่มต้นใช้งาน Dronebox นั้นแสนง่ายดาย เรามาทำตามขั้นตอนไปด้วยกันเลยครับ ขั้นตอนแรกเราจะต้องทำการ ลงชื่อเข้าใช้ หรือ ลงทะเบียน กับทาง Dronebox ก่อนนะครับ สามารถลงชื่อเข้าใช้แบบรวดเร็วและปลอดภัยโดยลงชื่อผ่าน Social Login มีให้เลือกลงชื่อเข้าใช้ด้วย Google Account และ Facebook Account ครับ หรือสามารถลงทะเบียนกับ Dronebox ก็เป็นอีกช่องทางนึง *แต่หลังจากสมัครเสร็จ จะต้องเข้าไปยืนยันตัวตนที่ email ที่ลงทะเบียนกับ Dronebox ด้วยนะครับ หลังจากลงชื่อเข้าใช้เสร็จแล้ว Dronebox จะนำท่านเข้าสู่หน้า Dashboard ของหน้าการจัดการ Project ครับ ผู้ใช้งานใหม่จะได้โควตาในการประมวลผลภาพจำนวน…

Read More
Back To Top